ประวัติความเป็นมาของวันมหาปวารณา
กำเนิดวันมหาปวารณา ประวัติความเป็นมาของการทำปวารณาในวันออกพรรษาเกิดขึ้นเมื่อไร ต้องปฏิบัติอย่างไรบ้าง
อานิสงส์สร้างที่ปฏิบัติธรรม
การสร้างที่พักอาศัยถวายแด่ภิกษุสงฆ์เพื่อใช้เป็นสถานที่ประพฤติปฏิบัติธรรม ได้ชื่อว่าให้ทุกสิ่งทุกอย่าง คือ ให้อายุ วรรณะ สุข พละ เรื่อยไปจนถึงการบรรลุมรรค ผล นิพพาน
วิบากกรรม "คนหาปลา"
จนกระทั่งมาถึงวันที่ 7 (นับจากวันที่โยมพ่อของลูกได้เสียชีวิตลงไปแล้ว) ในระหว่างที่กายละเอียดโยมพ่อของลูกกำลังเดินวนเวียนไปมาอยู่ภายในบ้านของท่านอยู่นั้น ก็ได้มีเจ้าหน้าที่ยมโลกนุ่งหยักรั้งสีแดงจำนวน 2 ตนมาปรากฏกายยืนอยู่ที่เบื้องหน้าของท่าน!!!
น้อมใจไว้ในพุทธองค์
เราได้เป็นพระราชาสมบูรณ์ด้วยรัตนะ ๗ ประการ เป็นใหญ่ในแว่นแคว้น ยินดียิ่งในกรรมของตน นี้เป็นผลแห่งการบูชาด้วยดอกไม้ ในกัปที่ ๙๑ แต่กัปนี้ เราโปรยดอกไม้ใด ด้วยกรรมนั้นเราไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งพุทธบูชา ในกัปที่ ๘๐ เราได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ มียศอนันต์ สมบูรณ์ด้วยแก้ว ๗ ประการ เป็นใหญ่ในทวีปทั้ง ๔ ก็ด้วยอานุภาพแห่งพุทธบูชานั้น
ทำจิตให้เลื่อมใส
เพราะเหตุที่จิตผ่องใส สัตว์บางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายทำลายขันธ์ ย่อมไปสู่สุคติโลกสวรรค์
วัฒนธรรมและประเพณี ของชาวไทย
วัฒนธรรมและประเพณี ศิลปกรรมไทยเป็นศิลปะที่มีความประณีตสวยงาม แสดงออกถึงความเป็นไทยที่มีความอ่อนโยน และสร้างสรรค์สืบต่อกันมาตั้งแต่อดีต จนได้ศิลปะประจำชาติที่มีลักษณะและรูปแบบเฉพาะ ส่วนใหญ่จะบอกเล่าเรื่องราว สิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่แบบไทยตั้งแต่ครั้งเก่าก่อน สะท้อนให้เห็นความเชื่อทางพระพุทธศาสนา สวยงามอ่อนช้อย และมีเรื่องราวกึ่งลึกกลับมหัศจรรย์
อนาถบิณฑิกเศรษฐี (มหาเศรษฐีเทพบุตร)
การถวายวิหารแก่สงฆ์เพื่อหลีกเร้นอยู่ เพื่อความสุข เพื่อเพ่งพิจารณา และเพื่อให้เห็นแจ้ง พระพุทธเจ้าทุกๆ พระองค์ทรงสรรเสริญว่า เป็นทานอันเลิศ เพราะเหตุนั้นแล คนผู้ฉลาด เมื่อเล็งเห็นประโยชน์ตน พึงสร้างวิหารอันรื่นรมย์ให้ภิกษุทั้งหลายเถิด
สัมมา อะระหัง กับความหมายของคำภาวนา
ความหมายของคำว่า.. “สัมมา อะระหัง” คำว่า “สัมมา อะระหัง” เป็นภาษาบาลี มีศัพท์ควบคู่กันอยู่ 2 ศัพท์ คือ “สัมมา” และ “อะระหัง
มหาปวารณา
วันมหาปวารณา คือ วันที่พระภิกษุทุกรูป จะต้องมาปวารณาซึ่งกันและกันว่า ถ้าใครเห็น ได้ยิน หรือสงสัยว่า ภิกษุรูปใดรูปหนึ่งประพฤติไม่ถูกต้องตามพระธรรมวินัยนี้ ก็จะตักเตือนเป็นกัลยาณมิตรให้ซึ่งกันและกัน เหมือนกับไปช่วยชี้ขุมทรัพย์ให้ เพื่อจะได้ปฏิบัติได้ถูกต้อง
ความหวังที่ควรตั้งใจ
เถาวัลย์ชื่ออาสาวดี เกิดในสวนจิตรลดาวัน พันปีจึงออกผลผลหนึ่ง เมื่อมีผลระยะไกลถึงเพียงนั้น เหล่าทวยเทพก็พากันไปเยือนมันบ่อยๆ ข้าแต่พระราชา ขอพระองค์จงทรงจำนงหวังไว้เถิด ความหวังที่มีผลเป็นเหตุให้เกิดสุข