วัดภาวนามองโกเลีย จัดกิจกรรมงานบุญเนื่องในวันวิสาขบูชา
วัดภาวนามองโกเลีย ประเทศมองโกเลีย ได้จัดกิจกรรมงานบุญเนื่องใน วันวิสาขบูชา ประจำปีพุทธศักราช 2565
คณะสงฆ์นานาชาติ เจริญพุทธมนต์บทรัตนสูตร
คณะสงฆ์นานาชาติ ร่วมพิธีเจริญพุทธมนต์บท “รัตนสูตร” ใต้ร่มพระศรีมหาโพธิ์พุทธคยา
วัดพระธรรมกายบอสตัน จัดงานบุญวันวิสาขบูชา
วัดพระธรรมกายบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ได้จัดงานบุญเนื่องในวันวิสาขบูชา
พิธีตักบาตรพระนานาชาติ 200 รูป จ.เชียงราย
ที่ริมฝั่งแม่น้ำโขงวัดสบลม จังหวัดเชียงราย ได้จัดกิจกรรมตักบาตรพระนานาชาติ 200 รูป
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๘)
ในช่วงสิ้นปีที่ผ่านมา คณะผู้บริหารและนักวิจัยได้เข้าร่วมการประชุมทางไกลข้ามทวีป (Video Teleconference) กับทีมงานวิจัยที่ปฏิบัติหน้าที่ภาคสนามอยู่ในหลายประเทศ เช่น ประเทศอังกฤษ สหรัฐอเมริกาจีน อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และนอร์เวย์ผลสรุปจากที่ประชุมมีดังนี้...
หลักฐานธรรมกาย ในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๗)
เดือนตุลาคมที่ผ่านมานี้ ผู้เขียนได้รับเชิญจากเจ้าภาพ คือ ประธานพุทธสมาคมจีนให้เข้าร่วมประชุม World Buddhist Forum ครั้งที่ ๔ ที่เมือง Wu Xi ซึ่งมีผู้แทนองค์กรชาวพุทธถึง ๕๒ ประเทศเข้าร่วมประชุมในครั้งนี้นับว่าเป็นนิมิตหมายที่ดีที่พุทธบริษัทจะมารวมเป็นหนึ่งเดียว ในช่วงนี้จึงเป็นโอกาสดีที่ผู้เขียนจะเดินทางไปเมืองซีอานอีกครั้งหนึ่ง
อิตาลียกพระพุทธศาสนาให้เป็นหนึ่งในศาสนาสำคัญของชาติ
ราวสิบกว่าปีมาแล้ว สื่อมวลชนในยุโรปได้แถลงกันยกใหญ่ว่า พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่จะเติบโตเร็วที่สุดในสมัยศตวรรษที่ 21 เพราะเห็นว่ากระแสผู้นับถือเติบโตเร็วมากทั้งในทวีปยุโรป, ออสเตรเลีย และอเมริกาเหนือ ไม่ว่าฝรั่งเศส, เยอรมนี, อิตาลี, อังกฤษ, สเปน, ออสเตรเลีย ฯลฯ วัดวาอารามผุดขึ้นมาอย่างต่อเนื่อง
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๔)
ผู้เขียนและคณะนักวิจัยของสถาบันดีรี (DIRI) ได้นำเสนอเส้นทางการเผยแผ่พระพุทธศาสนามาอย่างต่อเนื่องประจำทุก ๆ เดือนผ่านมาได้ ๓ ฉบับแล้ว แต่การเผยแผ่พระพุทธศาสนายังมีเรื่องราวอีกมาก ในฉบับนี้ผู้เขียนจึงขอนำเสนอ ประวัติของเส้นทางเผยแผ่พระพุทธศาสนา ต่อเนื่องจากฉบับที่แล้ว
บรรยากาศสุดปลื้มงานบุญใหญ่วันมาฆบูชา
เมื่อวานนี้ภาพการมาร่วมสั่งสมบุญใหญ่ของลูกพระธัมฯ ได้ทำให้ชาวโลกตื่นตะลึงแบบปลื้มกระจายไปทั่วโลกเลย ปลื้มกับพลังอันบริสุทธิ์ของชาวพุทธ ที่ไม่ว่าพายุจะถล่มแผ่นดินจะทลาย ชาวพุทธก็ยังคงรักและศรัทธาในพระพุทธศาสนาอย่างสุดหัวใจ และพร้อมที่จะช่วยกันยอยกพระพุทธศาสนาให้สูงส่งไม่มีวันเปลี่ยนแปลง เพราะคำสอนในพระพุทธศาสนา สามารถยกระดับจิตใจคนให้สูงขึ้นได้
เหตุใดชาวพุทธแม้มีหลายนิกาย ก็ยังอยู่ร่วมกันได้โดยไม่กระทบกระทั่งกัน
คนในโลกนี้มีหลากหลายความเชื่อ บางครั้งก็มีความเห็นไม่ลงรอยกัน แต่..เหตุใดชาวพุทธแม้มีหลายนิกาย ก็ยังอยู่ร่วมกันได้โดยไม่กระทบกระทั่งกัน?